User Credit-card Line Facebook-f Instagram Youtube
  • English
  • สมัครบาร์โค้ด
    • GTIN/EAN
    • GLN/EDI
  • เกี่ยวกับเรา
    • วิสัยทัศน์&พันธกิจ
    • ประวัติความเป็นมา
    • ทีมงาน
    • ติดต่อเรา
  • บริการ
    • การออกหนังสือรับรองสมาชิกสถาบันรหัสสากล
    • การคำนวณหมายเลขตรวจสอบ (Check Digit)
    • การตรวจสอบคุณภาพบาร์โค้ด
    • Verified by GS1
    • อบรมภายในองค์กร (In-house)
    • วิธีการชำระเงิน
  • มาตรฐานสากล
  • ฝึกอบรม
    • หลักสูตรอบรมความรู้บาร์โค้ด
    • หลักสูตรอบรมพิเศษ – Exclusive Training
    • หลักสูตรอบรมความรู้ด้านธุรกิจ
  • พันธมิตร
    • Solution Partners
    • Corporate Partners
    • สนใจสมัครเข้าร่วม Partners Alliance Program
  • โปรโมชั่น
  • ข่าวสารและกิจกรรม
  • ดาวน์โหลด
  • คำถามที่พบบ่อย
  • สมัครบาร์โค้ด
    • GTIN/EAN
    • GLN/EDI
  • เกี่ยวกับเรา
    • วิสัยทัศน์&พันธกิจ
    • ประวัติความเป็นมา
    • ทีมงาน
    • ติดต่อเรา
  • บริการ
    • การออกหนังสือรับรองสมาชิกสถาบันรหัสสากล
    • การคำนวณหมายเลขตรวจสอบ (Check Digit)
    • การตรวจสอบคุณภาพบาร์โค้ด
    • Verified by GS1
    • อบรมภายในองค์กร (In-house)
    • วิธีการชำระเงิน
  • มาตรฐานสากล
  • ฝึกอบรม
    • หลักสูตรอบรมความรู้บาร์โค้ด
    • หลักสูตรอบรมพิเศษ – Exclusive Training
    • หลักสูตรอบรมความรู้ด้านธุรกิจ
  • พันธมิตร
    • Solution Partners
    • Corporate Partners
    • สนใจสมัครเข้าร่วม Partners Alliance Program
  • โปรโมชั่น
  • ข่าวสารและกิจกรรม
  • ดาวน์โหลด
  • คำถามที่พบบ่อย

การกำหนดหมายเลขประจำตัวสินค้า GTIN-13

โครงสร้างสำหรับ บุคคล/นิติบุคคล 9 เลขหมาย

การกำหนดรหัสสินค้า X

เพื่อให้สามารถบริหารจัดการรหัสสินค้าได้อย่างเป็นระบบ บริษัทควรกำหนดรหัสสินค้าโดยให้หมายเลขแรกเริ่มต้นที่ 1 และเรียงลำดับต่อเนื่องกันไป เช่น 2, 3, 4 ไปจนถึง 9 ตามจำนวนรายการสินค้า

แนวทางการกำหนดรหัสสินค้า

  • ควรกำหนดรหัสสินค้าให้เป็นลำดับต่อเนื่อง เพื่อลดความสับสนและอำนวยความสะดวกในการบริหารข้อมูล
  • การเรียงลำดับจะช่วยให้ทราบได้ทันทีว่า ณ ปัจจุบัน บริษัทได้ใช้รหัสสินค้าไปถึงหมายเลขใดแล้ว
  • ควรมีระบบจัดเก็บข้อมูลรหัสสินค้าอย่างเป็นระเบียบ โดยระบุรายละเอียดของสินค้าแต่ละรายการที่ใช้รหัสนั้น

การกำหนดรหัสสินค้าอย่างเป็นระบบไม่เพียงช่วยให้การบริหารจัดการภายในมีประสิทธิภาพมากขึ้น แต่ยังลดโอกาสในการใช้รหัสซ้ำหรือข้ามหมายเลขโดยไม่ตั้งใจ ทำให้ระบบมีความโปร่งใสและง่ายต่อการตรวจสอบ

หมายเหตุ : LV คือหน่วยบอกความแตกต่างของหน่วยบรรจุ จะเป็นเลข 1-9 โดยสินค้าทั่วไป จะใช้เป็น เลข 1-8 ส่วนเลข 9 นั้น จะใช้กับสินค้าที่มีน้ำหนักแปรผกผัน เช่น ผัก,ผลไม้ เป็นต้น

C คือตัวเลขตรวจสอบ เกิดจากการคำนวณเท่านั้น เมื่อมีการเปลี่ยนเลข LV ทุกครั้งจะต้องคำนวณตัวเลขตรวจสอบใหม่ทุกครั้ง (วิธีการคำนวณตามด้านบน)

หลังจากได้ตัวเลขครบ 13 หลักแล้ว ในการทำแท่งบาร์โค้ดนั้น มี 3 วิธีคือ

  • ลูกค้าต้องมีโปรแกรมในการทำแท่งบาร์โค้ด หากลูกค้าสนใจในตัวโปรแกรม สามารถติดต่อกับ ผู้สนับสนุน(Vendor) ของทางสถาบันฯได้ที่ www.gs1th.org
  • ให้โรงพิมพ์ เป็นผู้จัดทำแท่งบาร์โค้ด
  • ให้บริษัทที่เป็นผู้ออกแบบแพคเกจจิ้ง เป็นผู้จัดทำ
  • สมัครสมาชิก
  • เกี่ยวกับเรา
  • มาตราฐานสากล
  • บริการของเรา
  • ข่าวสารและกิจกรรม
  • ดาวน์โหลด
  • ทีมงาน
  • ติดต่อเรา
  • คำถามที่พบบ่อย
  • หลักสูตรอบรมประกาศนียบัตร
  • อบรมพิเศษเฉพาะองค์กร
  • อบรมเพื่อส่งเสริมธุรกิจ
  • อบรมภายในองค์กร (In-House)
  • เข้าสู่ระบบสมาชิก
  • ช่วยพัฒนาบริการของเรา
  • สมัครรับข่าวสาร
Line Facebook Instagram Youtube

สถาบันรหัสสากล

ชั้น 11 อาคารปฎิบัติการเทคโนโลยีเชิงสร้างสรรค์
เลขที่ 2 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ
ถนนนางลิ้นจี่ แขวงทุ่งมหาเมฆ เขตสาทร
กรุงเทพมหานคร 10120

เวลาทำการ จันทร์ – ศุกร์ (08.00 – 17.00 น.)

  • Cookies Notice
  • Privacy Notice

© 2025 GS1 Thailand Copyright